โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท/ออฟฟิตซินโดรม รักษาอย่างไร
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ปวดหลัง ปวดร้าวลงที่ขา ปวดไปถึงน่อง ปวดหลังเท้า เจ็บข้อพับด้านหลัง นิ้วเท้าชา อาการเริ่มต้นของ โรคกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท หากท่านมีอาการ อาการปวดหลัง อาการปวดร้าวลงที่ขา ปวดไปถึงน่อง หรือ หลังเท้าข้างใดข้างหนึ่ง เจ็บข้อพับเข่าด้านหลัง ปวดน่อง นิ้วเท้าชา เป็นอาการเริ่มต้นเตือนให้ท่านรู้ว่า อาจเป็น โรคกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท
ในปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์มีความก้าวหน้า สามารถทานยา ทำกายภาพบำบัด โดยไม่ต้องผ่าตัด ก็สามารถทำได้ เรามาทำความรู้จักกับโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทให้ละเอียดมากกว่านี้ เพื่อใหรู้เท่าทันโรคนี้ ว่า สาเหตุของการเกิดโรค อาการ และการรักษา ต้องทำอย่างไร ป้องกันการเกิดเส้นประสาทสันหลังเสื่อม และกระดูกสันหลังเคลื่อนไปทับเส้นประสาทที่คอหรือเอวได้
โรคนี้เป็นโรคเสี่ยงของคนวัยทำงาน หรือ เป็นโรคหนึ่งของออฟฟิตซินโดรม ทำไมคนวัยทำงานจึงมีความเสี่ยงเกิดโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เนื่องจาก คนในวัยทำงานใช้ร่างหนัก ในขณะที่ไม่สัมพันธ์กับการพักผ่อน รวมถึงการออกเดินทาง ไปในสถานที่ต่างๆ การเคลื่อนไหวร่างกายมีมากกว่าคนในทุกวัย เราได้รวมพฤติกรรมเสี่ยงที่มีโอกาสให้หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทไขสันหลัง มีดังนี้
พฤติกรรมเหล่านี้เป็นพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทไขสันหลังได้ เรามาดูว่าอาการของหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เป็นอย่างไร
อาการของโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท
การที่หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทไขสันหลัง อาจทำให้เกิดอาการอักเสบอย่างรุนแรง แบบฉับหลัน ได้ แต่ลักษณะอาการจะเกิดขึ้น บริเวณ หลังและขา โดยสามารถสรุปอาการได้ดังนี้
สาเหตุของโรคหมอนรองกระดูกเส้นประสาท
สำหรับสาเหตุของการเกิดโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท นั้นตามที่กล่าวในข้างต้นถึงปัจจัยที่มีความเสียงในการเกิดโรคแล้วนั้น เราจะสรุป สาเหตุของการเกิดโรคนี้ ให้ละเอียดมากขึ้น มีดังนี้
สิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุของการเกิดหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท การป้องการการเกิดโรคเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ยิ่งกว่าการรักษา การเกิดโรคนี้ยังมีสิ่งที่ต้องระวังให้มากกว่านี้ คือ การเกิดโรคแทรกซ้อนที่มาจากการเกิดโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โดยโรคแทรกซ้อนของการเกิดโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทมีดังนี้
สำหรับการรักษาโรคนี้ ด้วยเทคโลดลยีทางการแพทย์มีมากขึ้น มีการรักษาด้วยการผ่าดับ ด้วยเทคนิค MIS เป็นการผ่าตัดกระดูกสันหลัง โดยส่องกล้องจุลทรรศน์ แบบแผลเล็ก เป็นการรักษาที่มีความปลอดภัยสูง และลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัตติเหตุต่อเส้นประสาท โดยการรักษาโรคนี้ยังสามารถรักษาได้หลายวิธี ดังนี้
การป้องกันการเกิดโรคทำได้โดยการหลีกเลี่ยง ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคทั้งหมด เช่น ไม่ยกของหนัก ยกของในท่าที่ถูกต้อง ไม่ยกของหนักเป็นเวลานาน ปรับเปลี่ยนอิริยาบถ สำหรับการนั่งทำงานบ่อยๆ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และออกกำลักกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลัง และหน้าท้องอยู่เป็นประจำ
ปวดแบบไหน สัญญาณอันตราย “หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท”
“ออฟฟิศซินโดรม” กลายเป็นคำคุ้นหูคุ้นปากมากขึ้นกว่าแต่ก่อน หากย้อนกลับไป 4-5 ปีที่แล้วอาจจะยังเป็นเรื่องใหม่ หรือไม่ค่อยมีใครพูดถึง แต่ตอนนี้กลับกลายเป็นโรคสามัญประจำออฟฟิศที่ถึงขั้นพบพนักงานออฟฟิศเป็นโรคเกี่ยวกับออฟฟิศซินโดรมอย่างน้อย 1 ใน 10 เลยทีเดียว
ปวดหลัง ปวดไหล่ ปวดคอ ใครๆ ก็ปวดได้ถ้าอยู่ในช่วงทำงานหนัก แต่ปวดแบบไหนที่เป็นสัญญาณอันตรายว่าเราอาจเสี่ยงอยู่ในอาการ “หมอนรองกระดูกเสื่อมทับเส้นประสาท”
ปวดแบบไหน สัญญาณอันตราย “หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท”
iStock
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
- อายุมากขึ้น เมือกใสๆ ในหมอนรองกระดูกก็เริ่มเสื่อมสภาพ
- ยกของหนักมากเกินไป หรือยกของหนักด้วยท่าทางที่ไม่ถูกต้อง
- การเล่นกีฬาที่มีการกระแทกซ้ำๆ
- เคลื่อนไหวผิดท่าอย่างแรง/โดยฉับพลัน
- น้ำหนักที่มากขึ้น จนเข้าสู่ภาวะโรคอ้วน ทำให้หมอนรองกระดูกต้องรับน้ำหนักมาก
- นั่งทำงานอยู่ในท่าเดิมๆ อยู่เป็นเวลานาน ไม่ได้ขยับเขยื้อนร่างกาย
วิธีป้องกันหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
นอกจากจะต้องระมัดระวังในการขยับร่างกาย งดเว้นการยกของหนัก และปรับเปลี่ยนอิริยาบถระหว่างนั่งทำงานแล้ว การออกกำลังกายเป็นประจำ จะช่วยยืดอายุของหมอนรองกระดูกให้ยังแข็งแรง ไม่เสื่อมได้ง่ายๆ อีกด้วย
CR :iStock
ปรับ เปลี่ยน...เลี่ยงออฟฟิศซินโดรม
ออฟฟิศซินโดรม โรคฮิตของเหล่ามนุษย์เงินเดือน หากไม่อยากเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ป่วยโรคนี้ แนะนำให้รีบปรับเปลี่ยนเพื่อเลี่ยงก่อนจะสาย
รูปแบบการทำงานของสาว ๆ ยุคนี้ส่งผลต่อความเจ็บป่วยทางจิตใจและร่างกายมากทีเดียว จึงมีคนจำนวนไม่น้อยประสบปัญหาอาการปวดเรื้อรัง อันเนื่องมาจากการใช้ชีวิตที่รีบเร่ง ทำงานในพื้นที่จำกัด และชีวิตส่วนใหญ่ถูกผูกติดอยู่กับโต๊ะและจอคอมพิวเตอร์แทบตลอดเวลา พฤติกรรมเหล่านี้ล้วนเป็นที่มาของอาการ "ออฟฟิศซินโดรม" นั่นเองค่ะ ไม่ใช่เพียงแค่ขาดการเคลื่อนไหว ออฟฟิศซินโดรมยังหมายรวมไปถึงกลุ่มอาการในเรื่องของระบบทางเดินหายใจและภูมิแพ้ ผลจากการอยู่ในออฟฟิศที่อากาศถ่ายเทไม่สะดวก เครื่องปรับอากาศที่ไม่สะอาด รวมไปถึงสารเคมีจากหมึกของเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องแฟกซ์ และเครื่องพิมพ์เอกสาร ซึ่งวนเวียนอยู่ภายในห้องทำงานอีกด้วย ออฟฟิศซินโดรมคืออะไร ออฟฟิศซินโดรม คือ กลุ่มอาการที่พบบ่อยในคนที่ทำงานในออฟฟิศ ซึ่งต้องนั่งทำงานตลอดเวลา แทบไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกายไปไหนมาไหน ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการตึงเครียด เมื่อนั่งนาน ๆ เข้าจะก่อให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ ปวดเมื่อยหลัง ไหล่ คอ บ่า แขน ข้อมือ บางรายปวดเกร็งอย่างรุนแรงจนหันคอ หรือก้มเงยไม่ได้เลย ทั้งนี้ คนส่วนใหญ่มีอาการปวดเมื่อยตามร่างกายแล้วคิดว่าไม่เป็นอะไร คิดว่านวด หรือทายานวดบ่อย ๆ ก็คงหาย แต่หากยังไม่เปลี่ยนพฤติกรรม ปล่อยอาการปวดแบบนี้ทิ้งไว้นาน ๆ อาการจะยิ่งหนักขึ้น เรื้อรังไปถึงขั้นมีอาการหมอนรองกระดูกเสื่อม หรือหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทได้เลย ซึ่งจะทำให้มีอาการปวดคอ ปวดสะบัก อาจมีหินปูนหรือกระดูกงอกมาเกาะไขสันหลัง ทำให้ปวดชาที่แขน มีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อได้ สำหรับผู้ที่มีอาการหมอนรองกระดูกสันหลังคอเสื่อม มักจะปวดศีรษะ ได้ยินเสียงดังในหู ปวดกระบอกตา วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน ยิ่งเคลื่อนไหวคอมากจะยิ่งปวด ต้องพบแพทย์เพื่อรักษา โดยต้องลดการเคลื่อนไหวของคอลง และออกกำลังกายกล้ามเนื้อบริเวณคอร่วมกับทานยาระงับปวด และทำกายภาพบำบัดเพื่อบรรเทาอาการ แต่หากมีอาการกดทับเส้นประสาทมาก แพทย์จะต้องทำการผ่าตัดเพื่อเอาหมอนรองกระดูกที่เคลื่อน หรือกระดูกงอกที่กดทับเส้นประสาทออกมา ซึ่งอาจต้องใช้โลหะดามกระดูกคอร่วมด้วย นอกจากบริเวณหลัง คอ บ่า ไหล่ แล้ว ส่วนข้อมือก็มีโอกาสเกิดอาการปวดได้เช่นกัน เพราะต้องใช้มือในการกดคีย์บอร์ด คลิกเม้าส์ เมื่อกระดกข้อมือขึ้นลงซ้ำ ๆ เป็นเวลานาน ก็ทำให้เกิดการอักเสบบริเวณเส้นเอ็น รวมทั้งเกิดภาวะพังผืดหนา ทำให้เกิดอาการชาบริเวณนิ้วและข้อมือตามมา บางคนเป็นถึงขนาดนิ้วล็อก ขยับนิ้วมือได้ลำบาก ต้องผ่าตัดรักษา แบบไหน "ใช่" ออฟฟิศซินโดรม มีข้อมูลยืนยันว่า อาการนี้พบบ่อยและพบมากในกลุ่มคนทำงาน โดยเฉพาะกลุ่มสาวออฟฟิศ และด้วยวิถีการทำงานในพื้นที่จำกัดและขาดการเคลื่อนไหว ทำให้เกิดอาการออฟฟิศซินโดรมขึ้นได้ไม่ยาก อยากรู้ว่าตัวเองเสี่ยงกับอาการนี้หรือไม่ ให้คุณลองสังเกตตัวเองดูว่า มักจะนั่งทำงานติดต่อกันนาน ๆ เพ่งจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันนานเกิน 1 ชั่วโมง โต๊ะ-เก้าอี้ ที่ใช้นั่งทำงานไม่สะดวกสบาย นั่งใกล้เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องแฟกซ์ หรือเครื่องพิมพ์เอกสาร ถ้าคำตอบคือ ใช่ เพียงแค่ 1 ข้อ ก็ถือว่ามีความเสี่ยงแล้ว แต่อย่าเพิ่งตกใจไปค่ะ เพียงลุกขึ้นบิดตัว ขยับซ้าย-ขวา จะช่วยให้อาการดีขึ้น เพราะอาการดังกล่าวเกิดมาจากความเมื่อยล้าในการทำงาน ตำแหน่งที่มักจะเกิดอาการปวดเมื่อย คือ คอ สะบักและศีรษะ รองลงมาคือ บริเวณหลัง บางครั้งมีอาการมือชาด้วย แต่บางคนอาจมีอาการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ อาจรู้สึกหายใจไม่เต็มที่ หายใจไม่สะดวก อึดอัด นอกจากนี้ความเครียดจากการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นความเครียดจากการทำงาน หรือเครียดจากร่างกายซึ่งอยู่ในท่าที่ไม่เหมาะ อุณหภูมิห้องร้อนหรือเย็นเกินไป และเลือดไหลเวียนไม่สะดวก ทำให้อาการออฟฟิศซินโดรมชัดเจนยิ่งขึ้น อาการใกล้ตัวนี้ถ้าเป็นมาก จะก่อกวนระบบประสาทอัตโนมัติบริเวณคอและศีรษะ ทำให้ปวดเมื่อยคอ ตาพร่า หูอื้อ มึนศีรษะ หากละเลยไม่ใส่ใจอาจถึงขั้นวูบได้ ดังนั้นควรหมั่นสังเกตและใส่ใจตัวเองอย่างสม่ำเสมอค่ะ ออฟฟิศซินโดรม...เลี่ยงได้ไม่ยาก อาการนี้แม้จะมีวิธีการรักษา แต่ก็ทำให้เสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย คงดีกว่าหากออฟฟิศซินโดรมจะไม่มากล้ำกราย เพราะฉะนั้นต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรวมถึงอุปกรณ์บางอย่าง เพื่อช่วยลดความเสี่ยงกับอาการนี้ให้น้อยลง ปรับพฤติกรรม กะพริบตาบ่อย ๆ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อมือและแขนทุก ๆ 1 ชั่วโมง พักสายตาจากจอคอมพิวเตอร์ทุก ๆ 10 นาที เปลี่ยนท่าการทำงานทุก 20 นาที นั่งหลังตรงชิดขอบด้านในของเก้าอี้ วางข้อมือในตำแหน่งตรง ไม่บิด หรืองอข้อมือขึ้นหรือลง ปรับอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน 1.คอมพิวเตอร์ ตั้งจอคอมพิวเตอร์และคีย์บอร์ดไว้ในแนวตรงกับหน้า ขอบบนของจอคอมพิวเตอร์ ควรอยู่ระดับสายตา ในท่านั่งที่คุณรู้สึกสบาย จอคอมพิวเตอร์ควรอยู่ห่างเท่ากับความยาวแขน ซึ่งเป็นระยะที่อ่านสบายตา ควรให้จออยู่ในมุมที่เหนือกว่าระดับตาเล็กน้อย ใช้เมาส์ โดยพักข้อศอกบนที่รองแขน และสามารถเคลื่อนไหวได้แบบไม่จำกัดพื้นที่ 2.โต๊ะ-เก้าอี้ ควรปรับให้ขอบของเบาะเก้าอี้ต่ำกว่าระดับเข่า ลองนั่งบนเก้าอี้ แล้ววางเท้าลงบนพื้น ให้ขาทำมุมประมาณ 90 องศา ปรับพนักพิงให้รองรับกับหลังส่วนล่าง ถ้าไม่สามารถทำได้ใช้หมอนหนุนหลังส่วนล่าง ปรับที่รองแขนให้อยู่ระดับข้อศอกและไหล่อยู่ในระดับที่ผ่อนคลาย ปรับให้มีช่องว่างระหว่างขอบเก้าอี้กับขาด้านหลัง ปรับที่วางคีย์บอร์ดให้อยู่ในระดับข้อศอก ทำมุม 90 องศา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและอุปกรณ์หลักที่ต้องใช้แล้ว ควรให้ความสำคัญเรื่องออกกำลังกายด้วย โยคะเป็นการออกกำลังกายที่เหมาะสมมาก เพราะยืดเหยียดกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ได้ดี รวมถึงการออกกำลังกายด้วยวิธีอื่น ๆ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของสุขภาพและกล้ามเนื้อ เพียงเท่านี้...ออฟฟิศซินโดรมไม่มากล้ำกรายให้วุ่นวายแล้วค่ะ ขอขอบคุณข้อมูลจาก
➰💠Protandim Nrf2💠➰
✅ 1) PROTANDIM ไม่ใช่อาหารเสริม แต่คือตัวช่วยให้โปรตีน NRF2 ในร่างกายทำงานโดยตรงกับยีน ทำให้ความเครียดต่างๆ ในระดับเซลล์และอนุมูลอิสระถูกขจัดออกจากร่างกายเฉลี่ย 40% ใน 30 วัน โดยไม่จำเป็นต้องกินวิตามินอื่นๆ ✳(เปรียบเทียบถ้าร่างกายคือเครื่องจักรเก่าๆ NRF2 จะช่วยกำจัดสนิมออกไป)
✅2) PROTANDIM ไม่ใช่ยาหรืออาหารเสริมทั่วไป แต่คือตัวช่วยชะลอวัยในระดับยีน
✅สามารถป้องกันโรคเสื่อมต่างๆ และโรคไม่ติดต่อได้กว่า 200 โรค ฟื้นฟูความแข็งแรง ✅ให้ตับ ไต กระเพาะ สมอง หัวใจ สายตา ข้อ ผม ผิว เล็บ ระบบภูมิคุ้มกันได้ระดับเทียบเท่าตอนอายุ 20 ปี
✅โรคต่างๆที่ NRF2 SYNERGIZER หรือ PROTANDIM ช่วยได้ คือ
✅โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมทั้ง เส้นเลือดแข็งกระด้าง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคของระบบหลอดเลือด และหัวใจล้มเหลว
✅ โรคของระบบประสาท รวมทั้ง อัลไซเมอร์, พาคินสัน, ALA
✅ มะเร็ง (ป้องกัน) และรักษาร่วมกับการรักษาอื่นๆ
✅โรคไตต่างๆ
✅ โรคเบาหวาน, โรคอ้วน
✅ โรคตับต่างๆโรคเกี่ยวกับปอด รวมทั้งหอบหืด, ถุงลมโป่งพอง
✅ติดเชื้อในกระแสเลือด ✅ โรคออโต้อิมมูนต่างๆ ✅ โรคเกี่ยวกับลำไส้ ✅ HIV/AIDS ✅MULTIPLE CLEROSIS ✅โรคลมชัก เป็นต้น ✅ ย้อนวัยให้สุขภาพได้สูงสุดถึง 40% ภายใน 30 วัน ✅ เอาชนะสัญญาณความเสื่อมของสุขภาพ 70 ประการ ✅ เหนือกว่าสเต็มเซลล์, คอลาเจนและสารต้านอนุมูลอิสระทุกชนิด ✅ เพิ่มการสร้างกลูต้าไธโอนในร่างการสูงสุดถึง 300% ✅ เพิ่มการสร้างเอ็มไซม์เอสโอดีนสูงสุดถึง 34% ✅3) PROTANDIM NRF2 SYNERGIZER ได้รับสิทธิบัตรเดียวในโลก สูตรเดียวในโลก 🔬🏆🔬พัฒนาคิดค้นโดย ดร โจ แมคคอร์ด ผู้ซึ่งได้รับรางวัลนวัตกรรมการชะลอวัยเปลี่ยนโลก (ELLIOT CRESSON MEDAL) 🔬🎓🔬จากผลวิจัยมหาวิทยาลัยชื่อดังต่างๆ เช่น ฮาวาร์ด เท็กซัส เป็นต้น ทำให้คนเรา ✅สามารถมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นอย่างชัดเจนและอายุยืนขึ้นเฉลี่ย 5-10 ปี หรือ 7% ✅4) ถาม PROTANDIM เหมาะกับใครบ้าง⬇️⬇️⬇️ ➡️📍ตอบ ผู้สูงวัยทุกคน และผู้ที่ทำงานงานหนัก หามรุ่งหามค่ำ เครียด พักผ่อนน้อย เร่งรีบ ทานอาหารไม่เป็นเวลา ป่วยง่าย ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ภูมิแพ้ ผิวพรรณหมองคล้ำ ดื่มแอลกอฮอล์สูบบุหรี่ประจำ เป็นต้น✳ 🔬🎓🔬รวมผลวิจัยความคิดเห็นจากหมอและนักวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับ PROTANDIM และ โปรตีน NRF2 กว่าหมื่นฉบับ 📝📚📚📚📝 WWW.PUBMED.GOV |
ตัวแทนจำหน่าย Lifevantage สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร :: 084-110-5021 Line ID :: pla-prapasara รับโปรโมชั่น สุดพิเศษ เฉพาะทาง Line นะคะ
วันจันทร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2561
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท/ ออฟฟิตซินโดรม รักษาอย่างไร
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ผลิตภัณฑ์ Lifevantage 1 ต.ค. 2565 เป็นต้นไป
ผลิตภัณฑ์ Lifevantage 1 ต.ค. 2565 เป็นต้นไป ตัวแทนจำหน่าย Lifevantage ประเทศไทย สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 🙏 🙏 🙏 โทร :: ...
-
โรคภูมิแพ้ โรคภูมิแพ้ ภาษาอังกฤษเรียกว่า allergy เป็นอาการที่พบได้บ่อย ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย แม้หลาย ๆ ค...
-
ขั้นตอนการใช้ ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว TrueScience Beauty System 95% ผิวหน้านุ่มและชุ่มชื้นขึ้น * 94% ผิวเรียบเนียนขึ้น * 88% ผิวเปล่งประกายขึ...
-
Protandim Nrf2 สามารถเพิ่มอายุขัยได้ 7% ผลการศึกษาจาก NIA Protandim ช่วยยืดอายุขัยได้ 7 % YouTube Video สถาบันวิจัยในผู้สูงวัยแห่งชาติของ อ...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น